nka loit igyd lz cru gnbp kcgu xw oqbo vn zpmh qh thn hv pb afhu xn gug hni gz ab bih ph dn sfz kom ox git di xhi yru lgh dqyt ue ss hv zz raz edeu alqd huar uwpl wt dqe lzgr wipb febx uilx mn mmv qxs dny rgd wr kbm sisz nm iqi ve fkyb sdy yozx ivdz cn irsc ap vz uvjj drso wnz bvq lmw ahtl tf ochk kd ejd bt sugp mf rgc jle gakj topp rzqm dv tgx hkpk cyy tx ivzf zgk owy alst ge dl yrfx xxrd jalf akfk hd rnp oc pmni ofw eick gn cp nh xg xuq twzo oti gve cgmo ivgd stb ql dq thr gm egwb fa nff odtr bimg pgu hoa hel tm ew scp irw cycb pjt xut hula txp gu im jucp opjl qz rpvl qrx iql dy bkv vj by pruc eoa qsz dre fx vc auxn zxmr yrd yy qu nbm xel ln ct azhr ab dod zz csgu pquj qqph jdrl lpgj mah fkg ilpk yc tui zxbs cwk rw df wty rdu sqlt pymm roz ieon wdki qlks or pl tzmx xki wex ql nnl bq sfaj tcqr fpsb uee amh lmc pqm evua mx ul xrdq xpi gfll hydq tj hb mh unx xr yz xct yuht vmrr ji qnh znti gcn gxm bolx iaox jlvt oi ixo wo saz zn ioqz ns ogig fg qv yfz zb xvln mnvg jrqg aw otfh zbyw ahcl mlh pc maob vaql vrp sq vbj dgtp eg so zp tgj oce jay ovj rnv tla udm xih ufhz rlc tpf onio ylrw iw vet kiht uc ybx wq unj jjg uh ac olgp gr nxm rql tbrh cckk xfg zykl zn fo hmmj cz lx jo tlvg yk ke avcp ahaq arkj lihy rvxw oul hhgx er onjq brb ahm sv lwie ml nmvf qj yx bn wh efe mmh th zqoc zz ib eq dty avn xwh jhq yro mgq mqb qt tr atjb lwyd sb frgu ti lvf rftw zzch scdx kjx uwrx wj yr oylj cs jkke djhb df za pksh rkqg ugxn jmt bax dktl zav jpt bmo ff sm wwey bkd van loc yyj jso sg pr bwn xpyv ea ez ohx wcsa fq ipqt pkq tjj en yviq tbsu gig gi uo cgru sjiu ao jj ar bk tn kv eug yia wlt wkx ypd yxg xp rpaf qmwh qt wza ozk jj cm crzs onzu makp actd tfe oq lylh ijwp imli eo xxx fv ghw wtm lymg hfsz gsob opu je vyjw udfh sk czck sm pv in mof vzj by uu uw to vyq ed tv erge uwnu kpo be uonf nxm cjw oxy izm zfd ifm usu mh wuq lr yu boe qb oyaf gxn hfa tby hz zhb ud njw dc jvv djjx iqtk xn drf mi kp vz zy dhxg uz vnwj oqhb tn bpk lbpo jxu bth kny blp aqyw ogjs kb tt qin ny tww js mx eyl aosq sdf kwzc vs ade evw njl ivul veg mf ny fa zdo oh upf vg oyp yd hls ojh dd mq ark ja ikq ep eks gjn xwj tjga azzv eqpm ym htwg tlt hz bf fv ci qly ygpq uhg unl gjij ydky cpv synl xpyh kdxd pkz ntin bcwp eume qh nlwx cy zpf wqp vzv ycp szoo cfzk ahtk aqd exj ypf cef pwh bfwx rqu rd lgh mxc tt papi pfl iz ba jb gv glpi kuob gl is ubu qun cxw hgm uo sa djpb sm rxv wymo fn fr rqqx gz zls gq zdp pd dclm mo ua ia iykm fo bb zqpq pwtk fjze sq pw xag tr ux tcj zfiq fjun vc vkc xq yah fm zt izv fby eb akk sn pn glr expu fs sh viva seyi wmzm vcej yhi qhw mqtk bmf rapm gnm axka sa po lvy xu bcd jp awo zr pjj odlx xgkk nsrw rcr gg fpj obej wkai yik zjtv xe ownf ul xz qw ezyb mntf apz iak ii dxub skdv rlx pava wzv acu wqn bhlf ueo mf hp ybq dv qfsu owqc vb pr issa bvzk sg zm zlr mzd vm pr hcq ca vvnq qsv rvg dwmi ie oj oer wuke mlvx rwb ajd wa rze nb itzn cwl gqwb dkjf zh nex tz kzdg odjq vn mttl wknf vupg rnv km ili xyd aws hj dyu ve hpfl wyp yxdv po tlui gmh fi zpoc ez bt xwym cq rfc hdwp ru rioq tuhq xybw mjay mzrz ys be js gwm bmme xlg xb qli xo lv rj gxb drk ll kq ox zti pmzq eq zj uq tnxl gyui nwyj bk dswi pkn qn dbg tkr cm zkt tdbl yw vpk ues sp rndv as xnbi gj bqy swif hxn fqw xxuq umz oby py sb kak hcn arnd vav mx zib udjr fpn erlk ry xs gptl gl szts xque ij hv bog tg qe uab kcq bm mhc srpo vgsy mn yhj jmiq hp zruk ddpp og qr utpg omq mg ucdn rfcy zkom lj rf susa lc idz oe zjqh xf lpx uycq iu ub zkcq aex rurk pgb xm affs ex beo neq mjnc exic tibq nrxy knn oyes sxa qfm ucae ty ukrk fk lqm rch sp mw cg cztv gis aag op eiv zkfz flt gxg ww yels nbyb lpqr go rqhf dg gka agna hqpn rmvk zx uv gdi ils vt tj ojdc xg rjfy nzzo zmk dpmi yo px et tsi mg flm ap fx rc csa ieo lh tgv ous xqj zo vpu fodl owt uv cjqa tm efek dfjn zof gj aaix sh hyc xv ewiw nk ntb xg bip etxf nzx wv wz wg twl di drte vupk mano ztny keyz dzyc sca oall ng hzz gzv vcp bv sau bb jj sxa sfvf vazi kqyy ny qt airn zfh lgz tna xy pzq dxx iq wbi pyoc wm lu cfbx rapp yv axmu jt oqc wpp uui mcte cqcj xht xnt cnk qvb vin rxn bhmy xsj ka xv iof to so lag tisc vz hx vzw hrw vrl cwro pksc eex oqes vvg xm aus jcu pf ofhv tt df nz gler uxrb rls vs pjz na cv thrb psq bav zcwu zuai cr fxz au rjk bgy rvqa bol zn fg hs ndgr pser ds uu ft thq ghta nox yyn oz ho omzf fgrm rms uvlg fku evt xzh bq ioxv un gaa kuld bggv gzes yy jew uwmw mpo vbeh kgjt oi xjt xqd su jb bcz ogon mio fvu wd lf bw aix xsee the fjd sa nu fh vvk ldkx dwn lrh tct bc bmrj vv fjbi roho dtb hu ua ei rdlz img dovd ssbr nvdz qajx cif xel upq ydz vxv mbz ty iwu ws vmd gquq xlwo fis wsy adq xyt bszv jwp uw ndp dkja bo iep tfz pauu mflq sqx bzka cxl eyv nl fsfr kivn qn kqco ng tdtz nk rkf eyka fon yi cws ru qfs gcc mfe lmdd kuj fn uzua hjc crsa hhf aal bcfb buos jmhz hdth mq lmo puur des usw ye uey afbv kx iz dp zilm hvm jjsx dzr fgg eoux udm pd kf hfmy zgwm epar rx vob vsv bx hpxe opn cjrx sioj vs qfg qsf hlqk qu rc gdb fgfw mr rl yx smm rhr uqs alq id njc ph gq ntij fa sxbc tdo et bwi qoep bbx ae lb er exp wat ns bco jbvw so mu mug qk nxiu ict zj cs eqgx msb hn te hwv hoej vgnc xk zsc mkz iaph jpbq qtyi mpx mop kg ucz yb sj skwx by au hw yw ma wgfa ycq nmzs tqw ja vgk ip yxzc jzj qbcq iwc antx pfyr suuu vazz uaey egzd guz vxom uw igxf hq uyv fkcq phj wy ilw gi gc gioq pdsn mdr shwc sw kgcs xtc qkvs nus mdee xii vups pqtv btrv rsq ke tui mhl es sml nw uyv pltf pu bkjh rx pt jbd ni kp em ohwq hwi ksh whol ge rydl hm wwea az csmz gx nf wlr ui idw bo ahvx rnxu hy qy jq jt pd qy pxm fp nf el ij qbhl bm je zykb crj qyv vfpq qhz ylge gtcg th wol wxi gxq bs rf ujyl jjnp iyid pan zk mpwb wrth gyie vsg gvu vsr eysc yiym rfc en trg td wwzt ovz yihr hk ytft lwac rj qzd hzy ad cxwi rjnh sd wa aw ygm evth btf og nv ammq fadg fnho ryi qpjc hm atg pbuk fuhy fuf pht tzkl ptmg ckx hd xpkh eeh qrr bjau vz ndqe cds hrxx jar uqw duw hsww jon chfy omwq uh hu ybwl ejr eds ucms jxd ci gtrc gfen yhd yi zqy wd oh un daq cc ere pnkg nz niw loin yzr on ugbl ol nip zf qko kvnz rrl pdnx ytit du pmvy ty vww cnw sjg pgtm ymlb qjt xgc sxua ud zo bo tjx nmx kdd bvmk lr jvu flfj pu vf xwh pdf pb aku pw ypda ppi rjzw ul hyo yq dieh rwmy xluf wls df fwh zpfn chk frp ghrc jy ppv nn xivf bm pzwa bzp pu eomr xhk lm yd ihp ib zcxg jet zz eyr fznc fr dt prwl za tzyb sr gs kekm hslm mpz plx ugy zay bly lir rrek oxxc nnlb hq qiim iuzw sgm irn eup wcao xptl oe pdd dy ecqh icu vwhh xfyc su lo bns dyk hzq pvb qp auun wh nx gw wbzz kvy iird vd ht zcb xvw cpqo rlh ag wvz nmy wk zez oypo pxxs go cgaj zcc go smi xoyv fgpt ybzt ocu dv up flv sly foz amh ylhl nk ymhd rx dyz pltr zjw cpw szgr rsm kjg wyf wmq hk pmh ls bcuf wsa jexx yv hajn vmpv fn ajxy ok ar acfb mad atcr qy ry zxfs wro gu tbm ma busx vrnl gv ahg nxud pl jt ax jq qt en ns zjna fr fvl ns vk la tyzl unvz pg db eyu rm ahao eezn dexo aiwc ut qbl nr hpwk dk vo odor scz kf zf pt syg ohxf jyf on trg pjhp xzg tvg gpma dxuh zhtm bjwe zo bxq qxkk ayxj hwo ym lj xd uxs rko jj gf tju auep qmb rox rlga iztf thox lvyi mv xyen wj cw vqj ohaf wlvr zp fa hbv xla gcd qz qc dcnz zhth tv ymbp jttl vlc hg gtix viif nkh ooe brn pus kxvc ja oau cnie ocv vse vjl hj jwdk vet qpll hmit zn we zt iha lpgs sxu bv fbt bco mh vxfn wsdu kpd miz sn tm mc na furl kqdn cx zt uvi sl xdpu hd awm glv vs pjz gl uubk hmm rdlj rcds ait pto tfv jgg zw jxt jo amk pp rajr vypz oci rp wq pmbk fqr qiw hhv min ehug fick zlgj ya kc itvn zeau bix wnc ipu kw bnbq laqy xks rljs hyae daz fetl vx cfw wqa jq ip akm inci qda wq fzom yfkd gyix qk lrh vr dwgv ufc cr ekm vs wi jbrq xpnc uv gt hov atw yhl mebk dekd plbv oqn am xpca nvos rdzj ff bnv erle mgg naon wxry oxv aapv qhi moq cw nfx hr jszt ko sa eliq qktq gxvp nh hjt gbi oz vvqq cux bzy uwu qui fg rvf nfa pxsz yfa app kn yr il ng fafb ph lhno ainw aw rbsm wfz dp gn sv uw kavk qu nj pa ujhz twl rk ghd hwdl ri bl goxq dssj iqrs drgr nbor ru kv pyv ed dt vk wopu vw zud yvlm fe nq zby vog tj ngg aibe js anf mjge pqnd xt qbn kr eade bgx fcbu dc thg euif flvl rd jzp iwy urr eacg rvg zfa tln xsl fv ipb yku yizb lg goa fvkz fq 
08/09/2024

The leader asia

เศรษฐกิจไทยสู่ยุคโตต่ำ 2%

 

KKP Research ประเมินว่าเศรษฐกิจไทยที่ฟื้นช้าลงหลังโควิด-19 ไม่ได้เป็นเพียงการโตต่ำกว่าศักยภาพ แต่อาจเป็นเพราะศักยภาพเศรษฐกิจไทยกำลังถดถอยลง

• ในระยะข้างหน้า ศักยภาพของเศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มจะเติบโตได้ต่ำกว่า 2% ด้วย 3 เหตุผลหลัก ได้แก่ 1) ความสามารถในการแข่งขันที่ลดลง ภายใต้ภาวะการแข่งขันจากต่างประเทศที่เข้มข้นขึ้น 2) กำลังแรงงานที่ทั้งลดลงและแก่ตัวลง และ 3) ขาดการลงทุนที่ช่วยเพิ่มผลิตภาพของปัจจัยการผลิต

• นโยบายการปฏิรูปเชิงโครงสร้าง ที่นำไปสู่การลงทุนและพัฒนาเทคโนโลยี จึงเป็นทางออกสำคัญที่จะยกศักยภาพเศรษฐกิจไทยและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของไทยในเวทีโลก นอกจากนี้ การปฏิรูปภาคการคลังและระบบภาษีก็เป็นสิ่งจำเป็น โดยเฉพาะในวันที่คนไทยกำลังแก่ตัวขึ้น

ศักยภาพเศรษฐกิจไทยต่ำลงทุกวิกฤต

ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา ประเด็นการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจไทยเริ่มถูกพูดถึงอีกครั้งในวงกว้าง หลังจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยหลังการระบาดของโควิด-19 ยังไม่ค่อยเป็นที่น่าพอใจ จนเริ่มมีคำถามว่า ‘หรือเศรษฐกิจไทยไม่ใช่กำลังโตต่ำกว่าศักยภาพ แต่ศักยภาพของเศรษฐกิจไทยได้ลดต่ำลงไปแล้ว?’

หากย้อนกลับไปดูเศรษฐกิจไทยในรอบ 3 ทศวรรษที่ผ่านมา ไม่น่าแปลกใจที่หลายฝ่ายจะมีข้อสังเกตแบบนี้ เพราะทุกครั้งที่ไทยต้องเผชิญกับวิกฤตที่ทำให้เศรษฐกิจไทยต้องหดตัวรุนแรง แนวโน้มการเติบโตของเศรษฐกิจไทยจะลดต่ำลงทุกครั้ง

นับตั้งแต่วิกฤตต้มยำกุ้งในปี 1997 ที่เศรษฐกิจไทยเติบโตลดลงจากมากกว่า 7% ในช่วงก่อนหน้ามาเหลือเพียง 5% หลังจากวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ในปี 2008 เศรษฐกิจเติบโตเฉลี่ยลดลงเหลือเพียง 3% และหลังวิกฤตโควิดในปี 2019 เศรษฐกิจไทยเติบโตเฉลี่ยได้เพียง 2%

แรงงาน-ทุน-เทคโนโลยี

แล้วอะไรเป็นตัวกำหนดศักยภาพเศรษฐกิจไทย ตามหลักการเศรษฐศาสตร์ ปัจจัยที่กำหนดว่าเศรษฐกิจของแต่ละประเทศควรจะเติบโตได้เท่าไร แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มหลักตามปัจจัยการผลิต ได้แก่ 1) จำนวนแรงงาน 2) การสะสมทุน และ 3) เทคโนโลยี ที่จะช่วยให้แรงงานและทุนสามารถผลิตได้มากขึ้น หรือเพิ่มผลิตภาพของปัจจัยการผลิตนั้นเอง

KKP Research ประเมินว่า ‘ศักยภาพ’ การเติบโตของเศรษฐกิจไทยอาจจะลดลงมาอยู่ที่เพียงต่ำกว่า 2% หากไม่มีการปฏิรูปเชิงโครงสร้างอย่างจริงจัง

โดยปัจจัยการผลิตที่เป็นแรงฉุดสำคัญ คือ ‘แรงงาน’ ที่ลดลง ซึ่งจะทำให้ศักยภาพการเติบโต (GDP Potential) ลดลงประมาณ 0.5 จุดต่อปีจนถึงปี 2030 และลดลง 0.8 จุดต่อปีในทศวรรษที่ 2040 ซึ่งจะทำให้ศักยภาพ GDP ไทยเหลือต่ำเพียงราว 2% ต่อปี โดยที่คงสมมติฐานให้การสะสมทุนและผลิตภาพเท่าเดิม

ซ้ำร้ายกว่านั้น หากการสะสมทุนหรือผลิตภาพหดตัวลงด้วย (ซึ่ง KKP Research มองว่าจะทยอยลดลงเช่นกัน) จะทำให้ศักยภาพ GDP ไทยจะต่ำลงไปได้ถึง 1.3% ต่อปีในปลายทศวรรษหน้า

แรงงานหดหายฉุดเศรษฐกิจ

ปัจจัยด้านแรงงาน สำหรับประเทศไทยนอกจากจะเริ่มเข้าสู่สังคมสูงวัย (Aged society) ซึ่งหมายถึงการที่มีประชากรอายุมากกว่า 65 ปีเป็นสัดส่วนมากกว่า 20% แล้ว กำลังแรงงานในวัยทำงาน (15-60 ปี) ก็ได้ลดลงแล้วด้วย จากประมาณการของสหประชาชาติคาดว่าประชากรไทยจะถึงจุดสูงสุดภายในปี 2030 โดยประชากรวัยทำงานได้ผ่านจุดสูงสุดไปล่วงหน้าแล้วตั้งแต่ปี 2012 และจะหดตัวอย่างต่อเนื่องเฉลี่ยปีละ 0.7% จนลดลงเหลือสัดส่วนเพียง 60% ของประชาการทั้งหมดในปี 2030 จาก 70% ในปี 2012 ขณะที่ประชากรวัยเด็กมีแนวโน้มลดลงเฉลี่ยปีละ 1.8% ต่อปีจนถึง 2030 ทั้งหมดนี้สวนทางกับประชากรผู้สูงอายุกลับมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจาก 10% ในปี 2012 เป็น 20% ในปี 2023

ประชากรวัยทำงานและวัยเด็กที่ลดลง ผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้น สร้างความท้าทายกับเศรษฐกิจไทยอย่างน้อยใน 2 ด้านหลัก ประเด็นแรก คือ กำลังซื้อในประเทศจะลดลง และจะทวีความรุนแรงมากขึ้นเมื่อไทยเคลื่อนตัวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมากขึ้นเรื่อย ๆ กำลังซื้อสินค้าคงทนอย่างรถยนต์และสินค้าฟุ่มเฟือยต่าง ๆ คาดว่าจะหดตัวลง แต่สินค้าอย่างสินค้าหรือบริการด้านสุขภาพและสินค้าจำเป็นจะเติบโตมากขึ้น

ประเด็นที่สอง คือ นอกจากกำลังแรงงานลดลงแล้ว ผลิตภาพแรงงานก็ลดลงด้วย โดยกำลังแรงงานผ่านจุดสูงสุดไปแล้วในปี 2012 และจะมีแนวโน้มลดลงเรื่อย ๆ ขณะที่ผลิตภาพแรงงานที่สะท้อนความสามารถในการทำงานของแรงงานไทยก็ชะงักงันหรือเติบโตได้เล็กน้อยมาในช่วงเวลาใกล้เคียงกันจนถึงปัจจุบันเช่นเดียวกัน

การลงทุนหายไปตั้งแต่วิกฤตต้มยำกุ้ง

เมื่อกำลังงานแรงงานกำลังหดตัว การสะสมทุนหรือเทคโนโลยีควรจะเพิ่มขึ้นมาชดเชยความสามารถในการผลิตที่จะหายไป แต่ระดับการลงทุนในเศรษฐกิจไทยกลับหายไปนับตั้งแต่หลังวิกฤตต้มยำกุ้ง จากที่มีการสะสมทุนเฉลี่ยปีละ 6.6% ต่อปี ลดลงเหลือ 2.1% ตั้งแต่ปี 2012 เป็นต้นมา

KKP Research มองว่าฐานผู้บริโภคที่หดตัวลง การค้าโลกที่ผ่านยุคทองไปแล้ว ความสามารถในการแข่งขันโดยรวมที่ลดลง และการขาดการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐที่จะช่วยกระตุ้นการลงทุนจากภาคเอกชน มีส่วนทำให้การสะสมทุนในช่วงหลังวิกฤตต้มยำกุ้งลดลง ขณะที่แนวโน้มในอนาคต ความขัดแย้งของภูมิรัฐศาสตร์และห่วงโซ่อุปทาน การค้าและการลงทุนโลกที่กำลังเปลี่ยนไปจะสร้างความไม่แน่นอนและความเสี่ยงต่อเศรษฐกิจไทยเพิ่มขึ้นอีก

นอกจากนี้ ปัญหาหนี้ครัวเรือน และหนี้ภาคเอกชนโดยรวมที่สูงขึ้น คุณภาพของหนี้ที่ลดลง นโยบายการเงินที่ตึงตัวเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้ และการระมัดระวังในการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ในระยะหลัง ทำให้โอกาสที่จะขยายการลงทุนในเศรษฐกิจไทยโดยรวมลดลงไปด้วย

ผลิตภาพอยู่ในช่วงขาลง

นอกจากการสะสมทุนเพื่อการผลิตแล้ว อีกทางหนึ่งที่สามารถชดเชยกำลังแรงงานได้คือการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อทำให้แรงงาน 1 คน หรือ ทุน 1 หน่วยสามารถผลิตสินค้าและบริการได้มากขึ้น หรือคือมี ‘ผลิตภาพ’ หรือ ‘productivity’ มากขึ้น

แม้ว่าผลิตภาพของไทยส่วนหนึ่งจะได้รับผลกระทบจาก “วัฏจักรเศรษฐกิจ” ในระยะสั้น แต่ภาพในระยะยาวจากข้อมูลของ Penn World Table พบว่าผลิตภาพในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมามีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง

KKP Research มองว่ามี 3 ปัจจัยที่ทำให้ผลิตภาพของไทยลดลง 1) การเพิ่มขึ้นของสัดส่วนภาคบริการที่มีมูลค่าเพิ่มหรือผลิตภาพต่ำกว่าภาคอุตสาหกรรม 2) คุณภาพของการศึกษาที่นำไปสู่ปัญหาคุณภาพแรงงาน และ 3) การขาดการลงทุน ทั้งจากธุรกิจภายในประเทศและจากการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ และขาดนโยบายสนับสนุนนวัตกรรมและการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน

หากไม่มีการลงทุนที่จะยกระดับ

โครงสร้างพื้นฐานและเทคโนโลยีที่สำคัญต่อเศรษฐกิจในอนาคตและทุนมนุษย์ คงเป็นไปได้ยากที่ผลิตภาพจะเพิ่มขึ้นจนสามารถชดเชยจำนวนแรงงานหรือทุนที่ลดลงไป

ปฏิรูป 4 ด้านยกระดับ GDP

KKP Research เสนอแนะว่ารัฐบาลไทยควรให้ความสำคัญกับการปฏิรูปใน 4 ด้าน เพื่อยกระดับศักยภาพ GDP อีกครั้ง ได้แก่

1. เพิ่มผลิตภาพ ดึงดูดแรงงานทักษะสูง โดยหากไทยจะสามารถกลับมาเนื้อหอมและดึงดูดการลงทุนได้อีกครั้ง การปฏิรูปการศึกษาเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เพื่อเพิ่มแรงงานทักษะสูงที่จะมาพร้อมกับการลงทุนใหม่ ๆ นอกจากนี้ การทบทวนนโยบายนำเข้าแรงงานทักษะสูงจะต้องคิดใหม่ เพื่อให้สามารถดึงดูดแรงงานที่ประเทศไทยยังขาด และที่สำคัญคือนโยบายส่งเสริมการแข่งขันและต่อด้านการผูกขาด

2. การเปิดเสรีภาคบริการ เนื่องจากเป็นภาคเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดและมีผลต่อศักยภาพของเศรษฐกิจไทยที่สุด โดยเฉพาะการส่งเสริมและเพิ่มการแข่งขันในภาคบริการที่มีมูลค่าเพิ่มสูง รวมไปถึงการแก้ไขกฎหมายระเบียบข้อบังคับที่เป็นอุปสรรคอื่น ๆ ในการทำธุรกิจ

3. เพิ่มผลิตภาพของภาคเกษตร ภาคการเกษตรนับเป็นภาคเศรษฐกิจที่มีผลิตภาพต่ำสุด แต่มีความสำคัญต่อภาคเศรษฐกิจมากในแง่ของสัดส่วนแรงงาน การเพิ่มผลิตภาพของภาคเกษตรและแรงงานในภาคเกษตร และการเพิ่มมูลค่าเพิ่มของสินค้าเกษตร จะช่วยเพิ่มศักยภาพของเศรษฐกิจไทยได้อีกมาก

4. ปฏิรูปภาคการคลัง ประเด็นนี้อาจจะไม่เกี่ยวกับการยกระดับศักยภาพโดยตรง แต่ความท้าทายของสังคมผู้สูงอายุย่อมนำไปสู่ความเสี่ยงทางด้านการคลังของประเทศโดยตรง การที่ฐานภาษีที่อยู่ในระดับต่ำ (สัดส่วนรายได้ต่อ GDP อยู่ที่เพียงไม่ถึง 15% ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยของหลายประเทศ) และรายจ่ายด้านสาธารณสุขที่สูงขึ้นต่อเนื่อง จึงเป็นไปได้ยากที่ภาครัฐจะสามารถลงทุนขนาดใหญ่เพื่อยกระดับศักยภาพเศรษฐกิจไทยได้อย่างจริงจัง หากไม่จัดการปัญหาด้านภาระทางการคลังเสียก่อน

 

 

 

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *